ระบบประเมินมาตรฐานบริการสุขภาพ 9 ด้าน (HS4)
ด้านที่ 8 สุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
1. การบริหารจัดการ
1.1 นโยบายด้านสุขศึกษาหรือสร้างเสริมสุขภาพของโรงพยาบาล
1.2 บุคลากรดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
2. กระบวนงานสุขศึกษาในกลุ่มไม่ป่วยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน
2.1 ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ(HB) และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ( HL) ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญตามภารกิจของโรงพยาบาล
2.2 การวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญตามภารกิจของโรงพยาบาล
2.3 แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาที่มีวัตถุประสงค์หรือตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ตามภารกิจของโรงพยาบาล
2.4 การออกแบบกิจกรรมและใช้สื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพและปัญหาความต้องการและวิถีชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย
2.5 แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือแผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาจัดทำโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสุขศึกษา/ทีมสหวิชาชีพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเครือข่ายตัวแทนภาคประชาชน
2.6 แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
2.7 การจัดกิจกรรมตามแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา
2.8 การสนับสนุน เสริมพลังให้กับภาคีเครือข่าย แกนนำสุขภาพภาคประชาชน ในการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
2.9 การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
3. กระบวนการสุขศึกษาในกลุ่มป่วยเพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองในผู้ป่วยและญาติ
3.1 ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ(HB) และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ( HL) ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วย
3.2 มีการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วย
3.3 แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาที่มีวัตถุประสงค์หรือตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วย
3.4 การออกแบบกิจกรรมและใช้สื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพและปัญหา ความต้องการและวิถีชีวิตของผู้ป่วยและญาติ
3.5 แผนงาน หรือ โครงการ หรือโปรแกรมสุขศึกษาหรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา จัดทำโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สุขศึกษา ทีมสหวิชาชีพ ผู้ป่วยและญาติ
3.6 แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
3.7 การจัดกิจกรรมตามแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา
3.8 การสนับสนุน เสริมพลังให้กับภาคีเครือข่าย ผู้ป่วยและญาติ ในการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
3.9 การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน
4. ผลลัพธ์การดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
4.1 กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านกระบวนการสุขศึกษามีพฤติกรรมสุขภาพ (HB) หรือความรอบรู้ทางสุขภาพ (HL) ในปัญหาสุขภาพที่สำคัญเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น
4.2 กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านกระบวนการสุขศึกษามีภาวะสุขภาพเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น
4.3 การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ
4.4 งานวิจัย หรือ นวัตกรรม หรือ ต้นแบบ หรือผลงานเด่นที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
4.5 ความพึงพอใจต่อกระบวนการสุขศึกษาตามแผนงานโครงการ